TOP LATEST FIVE จดทะเบียนสมรสเท่าเทียม URBAN NEWS

Top latest Five จดทะเบียนสมรสเท่าเทียม Urban news

Top latest Five จดทะเบียนสมรสเท่าเทียม Urban news

Blog Article

"ยกหมฺรับ-ชิงเปรต" ประเพณีสารทเดือนสิบงานบุญใหญ่ชาวใต้

‘ฟอร์ตี้ฟายไรต์’ ยินดีร่าง พ.ร.บ.สมรสอย่างเท่าเทียมผ่าน แต่ทางการไทยต้องให้ความสำคัญนำมาบังคับใช้

หากเป็นเชิงพิธีกรรม การแต่งงานของคู่รักต่างเพศสามารถเกิดขึ้นได้ แต่ในทางกฎหมาย กลับไม่เอื้ออำนวย เป็นเหตุให้หลายคู่เลือกบินไปจดทะเบียนสมรสกันยังต่างประเทศ แต่หากมีกฎหมายรองรับ เรื่องสิทธิการแต่งงาน ในอนาคตสามารถจดทะเบียนสมรสในประเทศไทยได้ รวมถึงมีกฎหมายรองรับพิธีกรรมอื่น ๆ เช่น สิทธิการหมั้น การจดทะเบียนสมรส รวมถึงการจัดการทรัพย์สินของคู่สมรส รวมไปถึงการเป็นตัวแทนทางกฎหมาย สิทธิรับมรดกในฐานะทายาทโดยธรรม และสิทธิได้รับประโยชน์จากสวัสดิการจากรัฐ (อาทิ สวัสดิการข้าราชการ รับประโยชน์ทแทนตามสิทธิประกันสังคม) นอกจากนี้ยังได้สิทธิในการขอสัญชาติอีกด้วย

ส่องอิทธิพล "ชุดผ้าไทย" ผ่านพระราชกรณียกิจต่างแดนของสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวงจากยุคสยามสู่ปัจจุบัน

นอกจาก พ.ร.บ. สมรสเท่าเทียมจะเปิดโอกาสให้ผู้ที่มีความหลากหลายทางเพศสามารถสมรสกันได้ตามกฎหมายแล้ว ยังมาพร้อมสิทธิในการสมรสที่ครอบคลุมทุกมิติ ดังนี้

Employed by Meta to provide a series of ad merchandise like authentic time จดทะเบียนสมรสเท่าเทียม bidding from third party advertisers

คู่รักสามารถจัดการสิ่งต่าง ๆ ให้ได้ อาทิ การดูแลตัดสินใจเรื่องทางการแพทย์ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นการเบิกรักษาพยาบาล การตัดสินใจสำคัญทางการแพทย์ในกรณีที่คน ๆ นั้นไม่สามารถตัดสินใจด้วยตัวเองได้ หรือกรณีที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเสียชีวิต อีกฝ่ายก็จะมีสิทธิในการจัดการศพได้ด้วยนั่นเอง

ต.ท.ศานิตย์ จึงไม่ติดใจและยอมถอนการแปรญัตติทำให้ไม่ต้องมีการลงคะแนน

การหมั้น : ร่างของรัฐบาลและก้าวไกล ใช้ข้อความว่า "บุคคลทั้งสองฝ่าย ผู้หมั้น ผู้รับหมั้น" ส่วนของภาคประชาชน ไม่เสนอให้แก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายเดิม เนื่องจากสามารถสมรสได้โดยไม่ต้องหมั้น

สิทธิประโยชน์และสวัสดิการจากรัฐในฐานะคู่สมรส เช่น รักษาพยาบาล, ประกันสังคม

ร่าง พ.ร.บ. ซึ่ง ธัญวัจน์ กมลวงศ์วัฒน์ พรรคก้าวไกล กับคณะเป็นผู้เสนอ

‘เศรษฐา’ ยินดี กฎหมายสมรสเท่าเทียมสร้างความเสมอภาค ความหลากหลายทางเพศ

สว. เสนอเปลี่ยน “คู่สมรส” เป็น “คู่ชีวิต” - เติมคำว่า “สามี-ภรรยา” กลับมา

นอกจากนั้นในมุมมองเรื่องหมั้น ที่แต่เดิมให้ชายโดยกำเนิดเท่านั้นที่จะเป็นผู้รุกเริ่มนำของหมั้นไปหมั้นหญิง ก็กลับกลายเป็นว่าใครใคร่หมั้นก็หมั้น ไม่มีข้อที่จะต้องบังคับกะเกณฑ์ว่าเพศชายต้องเป็นฝ่ายรุกเริ่ม ซึ่งหมายความว่า กฎหมายให้อิสระในการกำหนดชีวิตเป็นสถาบันครอบครัวของบุคคลโดยไม่คำนึงเพศ แม้กระทั่งเรื่องฝ่ายเริ่มต้นเข้าหาอีกฝ่ายเพื่อการมอบของหมั้น ก็ไม่มีการกำหนดเจาะจงเพศอีกต่อไป

Report this page